แนวคิด

                       การจัดทําวิทยานิพนธ์ “ภาพสะท้อนชีวิตและความงามของร่องรอยแห่งความลําเค็ญ” นี้ ข้าพเจ้าได้รับแรงบันดาลใจจากลักษณะหน้าตา รูปลักษณ์ของผู้คนในกลุ่มผู้ใช้แรงงาน รูปลักษณ์ของความเป็นจริงที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน อารมณ์ของสีหน้าและท่าทางของแต่ละบุคคล สะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้กับสังคมรอบข้าง การประคองความอยู่รอด และการแสวงหาความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ในทัศนคติของข้าพเจ้า เมื่อได้เห็นอารมณ์ที่เกิดขึ้นในใบหน้าของแต่ละคน เห็นถึงร่องรอยของความลําเค็ญซ่อนเร้นเรื่องราวต่างๆ มากมาย ความวิตกกังวล ครุ่นคิดกับความรับผิดชอบ ภาระที่ต้องดําเนินไปให้พ้นผ่านนั้น ทําให้ข้าพเจ้าได้ตระหนักถึงสาระของการดําเนินชีวิตของตัวข้าพเจ้าเอง โดยข้าพเจ้าได้นําเสนอผ่านงาน 2 มิติ ในรูปแบบของงานจิตรกรรมใบหน้าคนขนาดใหญ่ในแนวเหมือนจริง เพื่อถ่ายทอดให้ผู้ชมผลงานคล้อยตามและรับรู้ทางความรู้สึกดังเช่นข้าพเจ้า

ภาพผลงาน

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 1

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 2

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 3

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 4

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 5

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 6

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 7

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 8

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 9

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.

ชื่อภาพ : ร่องรอยความลําเค็ญ หมายเลข 10

เทคนิค : สีน้ํามันบนผ้าใบ
ขนาด : 150 x 200 ซม.